Sentence structures โครงสร้างประโยค
ประโยค หมายถึง
กลุ่มคำที่เรียงกันตามระเบียบของภาษาและมีความมายสื่อสารได้เข้าใจ
ประโยคจะประกอบด้วยภาคประธาน (subject)
และภาคแสดง (predicate) ส่วนทีทำหน้าที่เป็นประธานคือคำนามหรือสรรพนาม
และส่วนที่ทำหน้าที่เป็นภาคแสดงคือคำกริยาที่บอกหรืออธิบายอาการของประธาน
ชนิดของประโยค มี 3 ชนิด คือ 1.ประโยคความเดียว (simple
sentence) 2. ประโยความรวม (compound
sentence) 3. ประโยคความซ้อน (complex sentence)
1.
ประโยคความเดียว (simple sentence) เป็นประโยคที่มีประธานเพียง
1 และกริยาเพียง 1 เท่านั้น ในภาคแสดงของประโยคอาจประกอบไปด้วย
กรรมของกริยา (object) คำนามหรือคุณศัพท์ (complement) และส่วนขยายกริยา (adverbial)
ซึ่งอาจเป็นกริยาวิเศษณ์หรือบุพบทวลีก็ได้ ดังตัวอย่าง
ภาคประธาน
(subject)
|
ภาคแสดง (predicate)
|
||||
Verb
|
Object
|
Complement
|
Adverbial
|
Object
|
|
1.
My tooth
2.
We
3.
Natalie
The pill
He
Mr. Smith
4.
The bottle
The aspirins
5.
I
|
is
aching.
have
got
looks
was
became
is
is
are
kept
can
give
|
-
some
books.
-
-
-
-
-
-
you
|
-
-
beautiful.
an
aspirin.
famous.
the
director.
-
-
-
|
-
-
-
-
-
-
in
the kitchen.
upstairs.
-
|
-
-
-
-
-
-
-
-
an
aspirin.
|
ข้อสังเกต
ยังมี adverbs
ที่สามารถอยู่ได้ในตำแหน่งหน้ากริยาหลัก และหลังกริยาช่วยของประโยค
เราเรียกกริยาวิเศษณ์ชนิดนี้ว่า Adverb of frequency หรือกริยาวิเศษณ์บอกความถี่
เช่น
-
The
aspirins are usually kept upstairs.
- Natalie always looks
beautiful.
2.
ประโยคความรวม (compound sentence) ประกอบด้วยประโยคหลัก
(main clause) ตั้งแต่สองประโยคขึ้นไปมีตัวเชื่อมคือ and,
but และ or โดยแต่ละประโยคมีน้ำหนักหรือความสำคัญเท่าเทียมกัน
เช่น
-
the student asked
the question and the teacher answer it.
- I want to go but I feel too ill.
- You can come or you can meet us there
later.
ถ้าประโยคที่เชื่อมด้วย
and
, or, but มีประธานตัวเดียวกัน มักจะละประธานตัวที่กล่าวทีหลัง
- He met her at the
park and went shopping.
- I want to go but feel too ill.
3.
ประโยคความซ้อน (complex sentences)
ประโยคความซ้อน
ประกอบด้วยประโยคหลัก (main clause) และประโยครองหรืออนุประโยค
(subordinate clause) ซึ่งประโยครองจะทำหน้าที่ขยายความในประโยคหลักโดยมีสันธาน
(conjunctions) because, if, that หรือ wh-words เป็นตัวเชื่อม
คุณสมบัติของประโยครอง (subordinate
clause)
1. ทำหน้าที่เป็น noun,
adjective, หรือ adverb ขยายความประโยคหลัก
2.
ไม่สามารถอยู่เดี่ยวๆได้ โดยไม่มีประโยคหลัก
3.
ประโยครองสามารถอยู่ส่วนหน้าประโยค ส่วนหลังประโยค
หรือภายในประโยคหลักก็ได้ เช่น
If you want
it,
I’ll buy it for you.
They were going by bus because it
was cheaper.
The man who came into the room
was the manager.
-ประโยคที่ทำหน้าที่เหมือนคำนาม
(noun
clause) เรียกอีกอย่างว่า that-clause เช่น He said that he would help me. (เป็นกรรมของ said)
-ประโยคโยครองที่ทำหน้าที่เป็นคำคุณศัพท์
(adjective
clauses) คือประโยครองที่ขยายนาม หรือสรรพนาม เช่น Here is the car that I like. (that I like ขายาย the
car)
-ประโยครองที่ทำหน้าที่เป็นกริยาวิเศษณ์
(adverb
clause) คือ ทำหน้าที่เหมือนกริยาวิเศษณ์ขยายกริยา
เช่น I saw her when I
entered the room. (when I entered the room ขยาย กริยา saw)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น